|
91
« กระทู้ล่าสุด โดย polychemicals10 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 17:17:16 น. »
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้
92
« กระทู้ล่าสุด โดย polychemicals8 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 17:13:49 น. »
ดันกระทู้
93
« กระทู้ล่าสุด โดย polychemicals11 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 17:07:56 น. »
สตีเวียเอ็กแทรกซ์, จำหน่าย สตีวิโอไซด์, รีเบาดิโอไซด์เอ, Stevia, สารสกัดจากหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย, STEVIA_2025_TPCC_PKSN-001สารสกัดจากหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย, สตีเวียเอ็กแทรกซ์, สตีวิโอไซด์, รีเบาดิโอไซด์เอ, Stevia สารสกัดจากหญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานจากธรรมชาติ Natural Sweetener สารสกัดจากหญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล Sugar Substitute สารสกัดจากหญ้าหวาน มีความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า สารสกัดจากหญ้าหวาน ไม่มีแคลอรี ไม่ให้พลังงาน จึงเป็นทางเลือกใหม่ที่น่าสนใจเพื่อสุขภาพ
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ สารสกัดจากหญ้าหวาน รีเบาดิโอไซด์เอ, น้ำตาลสตีเวีย (Stevia Extract) ถึงแม้ว่าจะมีสารทดแทนความหวานที่ไม่ให้พลังงาน เช่น แอสปาร์แตม ซูคราโลส และอื่นๆ จะเป็นทางเลือกที่ถูกนำมาใช้ทดแทนน้ำตาล แต่การที่สารเหล่านี้ผลิตจากการสังเคราะห์ทางเคมี ซึ่งแตกต่างจากหญ้าหวานที่เป็นพืชตามธรรมชาติ สารสกัดจากใบหญ้าหวาน มีชื่อเรียกว่า สตีวิโอไซด์ (Stevioside) จึงมีความน่าสนใจมากขึ้น โดยลักษณะของสตีวิโอไซด์ เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า ซึ่งรสหวานของสารสตีวิโอไซด์ จะจางหายไปช้ากว่าน้ำตาลทราย แต่จะมีรสหวานติดลิ้นนานกว่า โดยสารที่ว่านี้ จะไม่ถูกย่อยให้เกิดพลังงานในร่างกาย มีแคลอรี่ต่ำมาก จึงมีความปลอดภัยสูง และมีการยอมรับให้ใช้เป็นสารให้ความหวานได้ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 262 พุทธศักราช 2545 โดยปัจจุบันนี้พบว่า สารให้ความหวานที่สกัดจากหญ้าหวาน กำลังเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก
หญ้าหวาน สารให้ความหวานจากธรรมชาติ เป็นที่ทราบกันดีว่า หากบริโภคน้ำตาลในปริมาณที่มากเกินจำเป็น สามารถสะสมทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น และนำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้มากมาย หลายคนจึงเริ่มหันมาสนใจ วัตถุดิบกลุ่มหนึ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำตาลได้ และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ นั่นคือ สารให้ความหวานแทนน้ำตาล (Artificial sweeteners) ซึ่งสารให้ความหวานแทนน้ำตาลนี้ ก็มีอยู่หลายชนิด แต่ที่กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ก็คือ หญ้าหวาน ที่เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล จากธรรมชาติ และถูกนำมาเป็นส่วนประกอบของอาหารคาว ขนมหวาน และเครื่องดื่มอยู่มากมายในปัจจุบัน
หญ้าหวาน คืออะไร หญ้าหวาน เป็นพืชชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางอเมริกาใต้ สามารถให้ความหวานได้โดยธรรมชาติ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia Rebaudiana Bertoni หรือเรียกสั้นๆว่า Stevia เมื่อนำใบหญ้าหวานแห้งมาสกัด จะได้สารสกัดบริสุทธิ์ ชื่อว่า สตีวิออลไกลโคไซด์ (Steviol glycosides) ซึ่งมีความคงตัวสูงในตัวทำละลาย กรดอ่อน เบสอ่อน ทนความร้อนได้ถึง 200 องศาเซลเซียส และหวานกว่าน้ำตาลทราย 200-400 เท่า โดยที่ไม่มีคาร์โบไฮเดรตและไม่ให้พลังงาน ทั้งนี้สารสกัดจากใบหญ้าหวานที่ได้รับการยอมรับ จากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (The Joint Food and Agriculture Organization / World Health Organization (WHO) Expert Committee on Food Additives, JECFA) ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้ จะต้องมีปริมาณสารในกลุ่มสตีวิออลไกลโคไซด์ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95 ของน้ำหนักแห้ง ดังนั้นจึงไม่แนะนำให้นำใบสด ใบอบแห้ง หรือผงสารสกัดจากใบหญ้าหวาน ที่ไม่ได้บอกปริมาณความเข้มข้น มาใช้ทำอาหารและเครื่องดื่ม หญ้าหวาน ใช้แล้วปลอดภัยไหม
อ้างอิงจากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การ อาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (The Acceptable Daily Intake, ADI) ของสารสกัดจากหญ้าหวาน (Steviol glycosides) ไว้ที่ 4 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ในรูปของ Steviol Equivalents หมายความว่า หากเราน้ำหนัก 50 กิโลกรัม เราจะสามารถรับสารสกัดจากหญ้าหวานได้ไม่เกิน 200 มิลลิกรัม/วัน แต่ในผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานแทนน้ำตาลตามท้องตลาด มีส่วนผสมของสารสกัดจากหญ้าหวาน(Steviol glycosides) เพียงเล็กน้อยเท่านั้นหรือประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาตรทั้งหมด เนื่องจากสารสกัดนั้นให้ความหวานที่มากกว่า น้ำตาลหลายร้อยเท่า เช่น ในน้ำเก็กฮวยยี่ห้อหนึ่ง มีหญ้าหวานประมาณ 0.03 % ใน 500 ml คิดเป็น 15 mg ต่อกล่อง นั่นหมายความว่า อาจจะต้องกินดื่มน้ำเก็กฮวย มากถึง 13 กล่องต่อวัน จึงจะได้รับหญ้าหวาน เกินปริมาณที่กำหนด ดังนั้นเมื่อนำมาใช้กับอาหารและเครื่องดื่มแทนน้ำตาลเพียงเล็กน้อย ก็ให้ความหวานเทียบเท่ากับน้ำตาลแล้ว ทำให้เราหมดความกังวลเรื่องที่จะได้รับสารสกัดเกินปริมาณที่กำหนด รวมถึงในปี ค.ศ. 2009 คณะกรรมการอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USFDA) ได้ออกประกาศว่า หญ้าหวานได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าปลอดภัย (Generally Recognized As Safe, GRAS) และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ประกาศให้สารสกัดสติวิออลไกลโคไซด์ เป็นวัตถุเจือปนอาหาร อีกด้วย ส่วนการศึกษาเกี่ยวกับการสะสมของสารสกัดจากหญ้าหวานจนเพิ่มความเสี่ยงการเกิดมะเร็งนั้น ก็ยังไม่พบว่า การใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาลจะทำให้เกิดมะเร็งได้ แต่อย่างไรก็ตาม การบริโภคสารสกัดจากหญ้าหวาน ก็ยังต้องระวังในคนที่แพ้พืชตระกูลเดียวกับหญ้าหวาน เช่น ดอกเบญจมาศ ดอกดาวเรือง เนื่องจากมีความเสี่ยงอาจแพ้หญ้าหวาน ด้วยเช่นเดียวกัน รวมถึงยังไม่มีงานวิจัยที่ยืนยันว่า สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร สามารถกินสารสกัดจากหญ้าหวานได้ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการบริโภคสารให้ความหวานแทนน้ำตาลไปก่อน และไปเลือกควบคุมปริมาณอาหารและ เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงแทน
ประโยชน์ของ สารสกัดหญ้าหวาน แน่นอนว่าประโยชน์ของหญ้าหวานที่ทุกคนรู้กันก็คือ การใช้เป็นวัตถุดิบให้ความหวานแทนน้ำตาล ในอาหารและเครื่องดื่ม โดยที่ไม่ให้พลังงาน และไม่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น ที่สารสกัดจากหญ้าหวานให้ผลเช่นนี้ เนื่องจากกระบวนการย่อยและดูดซึมของสารสกัดหญ้าหวาน ไม่ผ่านระบบย่อยอาหารส่วนต้น แต่จะเริ่มย่อยที่ลำไส้ใหญ่โดยแบคทีเรียในลำไส้ หลังจากนั้นถูกลำเลียงไปเผาผลาญที่ตับ จนสุดท้ายถูกขับออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะเป็นหลัก ไม่ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด ดังนั้นสารสกัดจากหญ้าหวาน จึงถูกนำมาใช้แทนน้ำตาล เพื่อเป็นตัวช่วยสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก โดยการลดพลังงานที่ได้รับจากน้ำตาลของอาหาร และเครื่องดื่ม นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงประโยชน์ของสารสกัดจากหญ้าหวานในด้านอื่น ๆ เช่น มีสารต้านอนุมูลอิสระ ที่ช่วยลดความเสื่อมของเซลล์ร่างกาย นำไปสู่การลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ แต่ทั้งนี้ก็อาจมีปัจจัยเกี่ยวกับการที่ใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาล ทำให้พลังงานต่อวันลดลงจนมีน้ำหนักตัวลดลงตามมา ซึ่งอย่างที่ทราบกันว่า ความอ้วน ก็เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็งได้ ดังนั้นในการใช้สารสกัดจากหญ้าหวานช่วยลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ จึงต้องมีการศึกษาต่อไปอย่างต่อเนื่อง กล่าวโดยสรุปคือ หญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลจากธรรมชาติ ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้อย่างปลอดภัย เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการดูแลสุขภาพ แต่ทั้งนี้การดูแลสุขภาพที่ดีอย่างแท้จริง คือ การปรับพฤติกรรมของตัวเราเอง โดยลดอาหารหวาน มัน เค็ม หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีพลังงานสูง มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความสมดุลของพลังงานต่อวัน ไม่ให้สะสมจนเกิดโรคได้ และอาจมีการใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นตัวช่วยเล็กน้อย จะดีกว่าการเลือกใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นหลัก แต่ไม่ได้มีการปรับพฤติกรรมอะไรเลย เพราะนั่นอาจจะเป็น การดูแลสุขภาพที่ไม่ยั่งยืนก็เป็นได้
สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034854888 Mobile: 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888@gmail.com Web: www.thaipolychemicals.com
Product description od Stevia. What is Stevia? Plant-based 100% natural sweetener extracted from leaves of stevia rebaudiana Zero calorie sugar substitute
Potency of 200-400x the sweetness of sugar Approved by regulatory bodies and food safety experts worldwide and in all major markets including US, Europe, Canada, Australia/New Zealand, China, Japan, Korea, and many more Enjoyed by 5 billion people around b the world in their food and beverages
The History of Stevia Grown for centuries in Paraguay, the stevia rebaudiana plant has been used by many generations of indigenous South Americans as a natural sweetener for teas and medicines. Its taste was so powerful that some would even enjoy chewing on the plant’s leaves as nature’s sweet treat. It wasn’t until the 19th and 20th centuries though that scientists would discover and study these leaves, where they isolated and identified the sweet tasting chemical components as steviol glycosides.
These compounds are the secret to stevia’s sweet magic, boasting a potency of 200-400x the sweetness of sugar. The stevia plant contains an abundant variety of these glycosides, each with their own sweetness and taste profile. Today, stevia enhances the taste of food and beverage products enjoyed by 5 billion people around the globe. And centuries later, laboratories everywhere are still perfecting the science of extracting, refining and purifying steviol glycosides.
Zero Calories. Limitless Potential. Not only does stevia have a far higher sweetness potency than sugar, it also has none of sugar’s calories. The potential health benefits of lower caloric intake and reduced glycemic impact on blood sugar make stevia-based sweeteners an ideal sugar substitute for people with diabetes, children, and many others seeking healthier diets and lifestyles. Stevia’s natural sweetness and potential health benefits are just some of the reasons its commercial use by food and beverage
manufacturers has exploded worldwide 100% all natural, non-artificial sweetener Pure and highly potent sweet taste Zero calories and zero glycemic index for healthier ingredients and healthier products Non-cariogenic and dental-friendly
Versatility as a total or partial replacement for caloric sugars Flavor enhancer in use with other sweetener ingredients Heat stability up to about 390 F and can be used in cooking and baking as well as other high temperature processing and packaging conditions
Extremely stable to low pH food, beverage processes and finished products systems Excellent solubility in aqueous systems
Regulatory Approval and Safety Commercial use of stevia as a food and beverage sweetener first started in the 1970s in Japan. It wasn’t until more recent years that the adoption of stevia has surged in popularity around the world, after hundreds of long-term scientific studies confirmed that steviol glycosides are safe for human consumption. These safety conclusions paved the way for the Food and Agriculture Organization and the World Health Organization’s Joint Expert Committee on Food Additives (JECFA), a global panel of food ingredient safety experts, to approve the use of stevia in 2008 and 2009. In the US, the Food & Drug Administration (FDA) granted Generally Recognized As Safe (GRAS) status to high purity stevia extract in 2008. The same year, Food Standards Australia New Zealand (FSANZ) approved stevia as a food additive. The European Food Safety Authority (EFSA) also followed suit when they authorized the use of stevia in 2011.
More information of Stevia extract powder, please contact Thai Poly Chemicals Company (Sweetener Division)
นอกจาก สารสกัดจากหญ้าหวานแล้ว บริษัท ยังเป็นผู้จัดจำหน่าย สารให้ความหวาน อีกหลายรายการ
สินค้าในกลุ่ม สวีทเทนเนอร์ SWEETENER ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่
Acesulfame K, ACK, อะซีซัลเฟมเค, เอซีเค Acesulfame Potassium, อะซีซัลเฟมโพแทสเซียม Artificial Sweeteners, สารทดแทนน้ำตาล Aspartame, แอสปาร์แตม, แอสพาร์แตม Dextrose Anhydrous, เด็กซ์โตรสแอนไฮดรัส Dextrose Monohydrate, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป D-Xylose, ดีไซโลส Erythritol, อิริทริทอล, น้ำตาลอิริท Ethyl Maltol, เอทิลมัลทอล Ethyl Vanillin, เอทิลวานิลิน Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ฟรักโทสผง Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, แบะแซ Glycerine, กลีเซอรีน, กลีเซอรีนบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรีน Glycerol, กลีเซอรอล, กลีเซอรอลบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรอล Hydrogenated Maltose Syrup, ไฮโดรจีเนตมอลโตส Icing Sugar, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายผง Inulin, Chicory Inulin, อินูลิน, อินนูลิน Isomalt, ไอโซมอลท์, ไอโซมอลต์ Lactitol Monohydrate, แลคติทอล โมโนไฮเดรต Luo Han Guo Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Maltitol, มอลทิทอล, มอลติตอล, มัลทิทอล Maltitol Powder, มอลทิทอลผง, ผงมอลทิทอล Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลทิทอล, มอลทิทอลไซรัป Maltodextrin, มอลโทเด็กซ์ทริน, มอลโตเด็กซ์ตริน Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป Mannitol, แมนนิทอล, มันนิทอล Mogroside V, โมโกรไซด์, โมโกรไซด์วี Monk Fruit Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Mycose, ไมโคส, น้ำตาลถนอมอาหาร Neotame, นีโอแตม, นีโอเตม Rebaudioside A, รีเบาดิโอไซด์เอ, สารสกัดจากหญ้าหวาน Sodium Cyclamate, โซเดียมไซคลาเมต, แป้งหวาน Sodium Saccharin, โซเดียมแซคคาริน, ขัณฑสกร, ดีน้ำตาล Sorbitol, ซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป Specialty Sweetener, สารเพิ่มความหวานชนิดพิเศษ Stevia, หญ้าหวาน, สตีเวีย, รีเบาดิโอไซด์เอ Stevia Extract, สารสกัดหญ้าหวาน, สตีวิออลไกลโคไซด์ Stevia Sugar, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย Sucralose, ซูคราโลส, ซูคาร์โลส Sugar, น้ำตาลทราย, น้ำตาลทรายบริสุทธิ์ Sugar Substitutes, สารให้ความหวานแทนน้ำตาล Trehalose, ทรีฮาโลส, ตรีฮาโลส Tremalose, ทรีมาโลส, ตรีมาโลส Vanillin Powder, วานิลิน, วะนิลิน Xylitol, ไซลิทอล, ไซลิตอล, น้ำตาลเทียม
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สวีทเทนเนอร์ สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล More information of sweetener, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC) เคมีภัณฑ์ เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, เคมีภัณฑ์ เกรดยา, เกรดยูเอสพี, เกรดอีพี, เกรดเจพี
สอบถามข้อมูลได้ที่ บจก. ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต Chemical, Food Grade, Food Additive, FCC, Pharmaceutical Grade, USP, EP, JP Please Contact Thai Poly Chemicals Company, Poly Chemicals For A Better Life
วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน
ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภค ที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม
การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ
การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) | สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) | สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) | สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) | สารฟอกสี (Bleaching Agent) | สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) | สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) | สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) | สี (Color) | สารคงสภาพของสี (Color Retention Agent) | อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) | เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) | สารทำให้แน่น (Firming Agent) | สารเพิ่มรสชาติ (Flavor Enhancer) | สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) | สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) | สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) | สารเคลือบผิว (Glazing Agent) | สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) | ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) | สารกันเสีย (Preservative) | ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) | สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) | สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) | สารทำให้คงตัว (Stabilizer) | สารให้ความหวาน (Sweetener) | สารให้ความข้นเหนียว (Thickener)
More information of sweetener, food additive, food grade chemical Food Chemical Codex, FCC, EP, USP, JP, please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) Food Additive Tel +6634 854888, +668 9312 8888 Official Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888 (at) gmail.comคำค้นหา : สตีเวียเอ็กแทรกซ์, สตีวิโอไซด์, รีเบาดิโอไซด์เอ, Stevia, สารสกัดจากหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย,
94
« กระทู้ล่าสุด โดย foraliv11 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 17:02:35 น. »
ดันกระทู้
95
« กระทู้ล่าสุด โดย memieray1 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 16:59:04 น. »
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้
96
« กระทู้ล่าสุด โดย sparkthai1 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 16:58:09 น. »
ดันกระทู้
97
« กระทู้ล่าสุด โดย coolprodee1 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 16:53:18 น. »
ดันกระทู้
98
« กระทู้ล่าสุด โดย anatomi88 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 16:52:34 น. »
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้
99
« กระทู้ล่าสุด โดย dilive11 เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 16:51:16 น. »
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้
100
« กระทู้ล่าสุด โดย tweed24hr เมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2025, 16:50:53 น. »
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้
|
|
|